ศิลปะ

รำวงมาตรฐาน

นาฏศิลป์ไทย ศิลปะที่สะท้อนเอกลักษณ์และคุณค่าของความเป็นไทย

รำวงเป็นนาฏศิลป์ไทยแบ่งเป็น รำวงมาตรฐาน และรำวงประยุกต์

รำวงมาตรฐานมีวิวัฒนาการมาจากรำโทน ซึ่งการรำโทนมีการกำหนดท่ารำที่ตายตัว มีบทร้องหลายลักษณะ ตั้งแต่บทชมโฉม บทเกี้ยวพาราสี ต่อมาระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มีประชาชนชาวกรุงเทพฯนิยมเล่นกันมาก รัฐบาลโดยท่าน จอมพลแปลก พิบูลย์สงคราม ได้พัฒนาการเล่นรำโทนให้มีระเบียบแบบแผนตามแบบนาฏศิลป์ไทยโดยมอบให้กรมศิลปากรปรับปรุงการเล่นรำโทนใหม่ เมื่อ ปี พุทธศักราช 2478 ได้มีการคิดบทร้องใหม่ 4 บท คือ

เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงมาซิมารำ เพลงคืนเดือนหงาย

โดยผู้คิดบทร้องคือ จมื่นมาริศนาเรศ เฉลิม เศวตนันท์ ผู้ปรับปรุงทำนองเพลงคือ อาจารย์มนตรี ตราโมท ผู้ประดิษฐ์ท่ารำคือ หม่อมต่วน อาจารย์มาลี คงประพัฒน์ และอาจารย์ละมุน ยมคุปต์ และต่อมา ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลย์สงคราม ได้แต่งบทร้องขึ้นเพิ่มมาอีก 6 บท ได้แก่

เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงบูชานักรบ เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงยอดชายใจหาญ

ต่อมากรมศิลปากรได้เปลี่ยนชื่อ รำโทน มาเป็นรำวงมาตรฐาน ท่ารำที่ใช้จะเป็นท่ารำต่างๆในแม่บทนาฏศิลป์ไทยที่นำมาใส่ไว้ในแต่ละเพลง มีท่ารำประจำไม่ปะปนกัน วิธีเล่นจะเล่นแบบระบำหมู่โดยหญิงชายหลายๆคู่ รำแบบพร้อมเพียงกัน ก่อนจะรำ หญิงและชายจะต้องทำความเคารพกันแล้วตามด้วยเสียงดนตรีที่จ นำขึ้นก่อน 1 วรรค เพื่อให้ผู้รำตั้งต้นจังหวะได้พร้อมเพียงกัน

ท่ารำที่ใช้ในรำวงมาตรฐาน ได้แก่

1. สอดสร้อยมาลา 2. ชักแป้งผัดหน้า 3. รำส่าย 4. สอดสร้อยมาลาแปลง 5. แขกเต้าเข้ารัง 6. ผาลาเพียงไหล่ 7. รำยั่ว 8. พรหมสี่หน้า 9. ยูงฟ้อนหาง 10. ช้างประสานงา 11. จันทร์ทรงกลดแปลง 12. จ่อเพลิงกาฬ 13. ชะนีร่ายไม้ 14. ขัดจางนาง 15. จันทร์ทรงกรด

บทเพลงและท่ารำที่ใช้แสดงร่วมกันมีดังนี้

1. เพลงงามแสงเดือน ใช้ท่ารำ สอดสร้อยมาลา

2. เพลงชาวไทย ใช้ท่ารำ ชักแป้งผัดหน้า

3. เพลงมาซิมารำ ใช้ท่ารำ รำส่าย

4. เพลงคืนเดือนหงาย ใช้ท่ารำสอดสร้อยมาลาแปลง

5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ใช้ท่ารำ แขกเต้าเข้ารัง

และผาลาเพียงไหล่

6. เพลงดอกไม้ของชาติ ใช้ท่ารำ รำยั่ว

7. เพลงหญิงไทยใจงาม ใช้ท่ารำ พรหมสี่หน้า

และยูงฟ้อนหาง

8. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ใช้ท่ารำ ช้างประสานงา

และจันทร์ทรงกลดแปลง

9. เพลงยอดชายใจหาญ ผู้ชายใช้ท่ารำ จ่อเพลิงกาฬ

ผู้หญิงใช้ท่ารำ ชะนีร่ายไม้

10. เพลงบูชานักรบ ผู้ชายใช้ท่ารำ จันทร์ทรงกลด

ผู้หญิงใช้ท่ารำ ขัดจางนาง

ค้นข้อมูลโดย...นายกฤษณเดช ศุภศาสตรานนท์

งานประชาสัมพันธ์ ร.ร.บ้านห้วยบงเหนือ สพป.ชย.1

www.hbn.chaiyaphum1.com Tel…044-121113

ทำไมต้องเรียนศิลปะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้

เรียนรู้อะไรในศิลปะ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสำคัญ คือ

· ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

· ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์

· นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์

วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ

ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน

ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี

ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้

ในชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า

ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

คุณภาพผู้เรียน

จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

· รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำแนกทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้น งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง

· รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น

· รู้และเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสำคัญของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจำวัน

· รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสำคัญ และประโยชน์ของดนตรีต่อการดำเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น

· สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย

· รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการดำรงชีวิต ของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ไทยตลอดจนความสำคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้

จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

· รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล น้ำหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานสื่อผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้งสามารถ สร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพิ่มในงานปั้น การสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น ตลอดจน รู้และเข้าใจคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม

· รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และวัฒนธรรมที่มีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น

· รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และบทบาทหน้าที่ รู้ถึงการเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง ร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษา เครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทางนาฏศิลป์และ การเล่าเรื่อง

· รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คุณค่าดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน เห็นความสำคัญในการอนุรักษ์

· รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศัพท์พื้นฐาน สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบเครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์

· รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และการละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย

ตัวอย่างข้อสอบ วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

รวมข้อสอบ ปลายภาค - ปลายปี เตรียมสอบข้อสอบ O-Net A-net

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

1.ศิลปะ หมายถึง ฝีมือการช่าง การแสดงให้ปรากฏขึ้นอย่างงดงามน่าพึงชม และเกิดความสะเทือนใจ ผู้ให้ความหมายคือใคร

ก. อริสโตเติล

ข. ดอลสตอย

ค. ศาสตราจารย์ศิลปะ พีระศรี

ง. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถานฯ

2.ประณีตศิลป์ หรือศิลปะบริสุทธ์คือข้อใด

ก. ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts)

ข. วิจิตรศิลป์(Fine Arts)

ค. ทัศนศิลป์(Visual Arts)

ง. ศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Arts)

3. จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม วรรณกรรม และดุริยางคศิลป์ (คีตศิลป์)หมายถึงข้อใด

ก. วิจิตรศิลป์(Fine Arts)

ข. ศิลปะพ็อพ อาร์ต(Pop Arts)

ค. ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts)

ง. ศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Arts)

4. ผลงานศิลปะในข้อใดจัดอยู่ในสาขาทัศนศิลป์ทั้งหมด

ก. จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม

ข. ภาพถ่าย สื่อประสม ประติมากรรม

ค. ภาพพิมพ์ นาฏศิลป์ จิตรกรรม

ง. การละคร ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย

5.หัตถศิลป์ อุตสาหกรรมศิลป์ พาณิชย์ศิลป์ มัณฑนศิลป์ และนิเทศศิลป์ หมายถึงข้อใด

ก. วิจิตรศิลป์(Fine Arts)

ข.ศิลปะพ็อพ อาร์ต(Pop Arts)

ค. ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts)

ง. ศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Arts)

6. จิตรกร(Artist)หมายถึง ผู้สร้างสรรค์ผลงานประเภทใด

ก. ประติมากรรม

ข. จิตรกรรม

ค. สถาปัตยกรรม

ง. วรรณกรรม

7. ช่างปั้น แกะสลัก และช่างหล่อ หมายถึง บุคคลในข้อใด

ก. จิตรกร

ข. ประติมากร

ค. สถาปนิก

ง. กรรมกร

8. ผู้ออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ หมายถึง บุคคลในข้อใด

ก. จิตรกร

ข. ประติมากร

ค. สถาปนิก

ง.มัณฑนาการ

9. ข้อใดไม่ใช่งานศิลปะ

ก. ความสวยงามของน้ำตก

ข. การสร้างรูปเคารพ

ค. การเขียนภาพเหมือน

ง. การออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่

10. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม

ก. ลวดลายบนด้ามกริช

ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว

ค. ลวดลายบนเรือกอและ

ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา

11. งานออกแบบที่รูปแบบสามารถสื่อความหมายให้ผู้พบเห็นมีความเข้าใจตรงกันโดยไม่จำเป็นต้องมีคำบรรยายประกอบคืออะไร

ก. การออกแบบสิ่งพิมพ์

ข. การออกแบบสัญลักษณ์

ค. การออกแบบเครื่องแต่งกาย

ง. การออกแบบตกแต่งหน้าร้าน

12. ข้อใดเป็นสีตรงข้าม

ก. พรใส่เสื้อสีแดง กระโปงสีม่วง

ข. ศรีใส่เสื้อสีเหลือง กางเกงสีน้ำเงิน

ค. บรรจงผูกเนคไทสีน้ำเงิน ใส่เสื้อสีส้ม

ง. บุญสวมนวมสีดำ ใส่เสื้อกล้ามสีเหลือง

13. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์

ก. เอกภาพ

ข. จังหวะ

ค. ระยะทาง

ง.ความสมดุล

14. ให้ความรู้สึกสับสน ไม่แน่นอน กระแทกกระทั้น การต่อสู้ หมายถึง เส้นข้อใด

ก. เส้นเฉียง

ข. เส้นโค้ง

ค. เส้นซิกแซก

ง. เส้นคลื่น

15. ทัศนธาตุ(Visual Elements)ในข้อใดที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุด

ก. รูปทรง(Form)

ข. เส้น(Line)

ค. สีสัน(Colours)

ง.จุด(Point)

16. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม

ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า

ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดวัดช้างให้

ค. พระประธานในอุโบสถ

ง. รูปปั้นนางเงือกริมหาดสมิหลา จ.สงขลา

17. สีขั้นที่ 2 (Secondary Colour) คือ สีข้อใด

ก. ส้ม ชมพู เขียว

ข. ชมพู ฟ้า ขาว

ค. เขียว แดง เหลือง

ง. ส้ม ม่วง เขียว

18. สีที่อยู่ได้ทั้งวรรณะอุ่น(Warm Tone) และ วรรณเย็น(Cool Tone) คือข้อใด

ก. สีเหลือง และสีขาว

ข. สีขาวและสีดำ

ค. สีเหลือง และสีม่วง

ง. สีเทา และสีฟ้า

19. การออกแบบเครื่องแต่งกาย จัดว่าเป็นงานออกแบบประเภทใด

ก. ออกแบบตกแต่ง

ข. ออกแบบผลิตภัณฑ์

ค. อออกแบพาณิชย์ศิลป์

ง. ออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย

20. คำกล่าวต่อไปนี้ ข้อใดเป็นจริงและเหมาะสมที่สุด

ก. ผลงานของคนปัญญาอ่อน ไม่จัดว่าเป็นผลงานศิลปะ

ข. ผลงานศิลปะจากคนปัญญาอ่อน อาจมีคุณค่ามากกว่าผู้ใด

ค. จินตนาการจากโลกมืด (คนตาบอด) เป็นจินตนาการที่ไม่สมบูรณ์

ง. ผลงานของศิลปินที่วาดภาพด้วยเท้า มีคุณค่ามากกว่าศิลปินที่วาดภาพด้วยมือ

21. ศิลปะในประเทศไทยที่ยืนยันว่าดินแดนแถบนี้เคยมีความเจริญ มีอารยธรรมของตนเองมาก่อน เมื่อห้าพันปีมาแล้ว คือ ข้อใด

ก. เกาะยอ จ.สงขลา

ข. บางแสน จ.ชลบุรี

ค. บ้านเชียง จ.อุดรธานี

ง. ปากช่อง จ.นครราชสีมา

22. พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร สร้างด้วยหินอ่อนและหน้าต่างประกอบด้วยกระจกสีออกแบบโดยใคร

ก. ศิลปะ พีระศรี

ข. สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ค. ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์

ง. ไมเคิล แองเจลโล

23. ประติมากรชาวอิตาลี ชื่อ โดราโด เฟโรจี ภายหลังโอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่าอย่างไร

ก. ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์

ข. เฉลิม นาคีรักษ์

ค. มีเซียม ยิปอินซอย

ง. ศิลป พีระศรี

24. “พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์” พุทธลักษณะรับแรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปสมัยใด

ก. สุโขทัย

ข. อยุธยา

ค. เชียงแสน

ง. ลพบุรี

25. การเก็บศพไว้ไม่ให้เน่าเปื่อยรียกว่า มัมมี่ (Mummy) ไว้ใน พีระมิด และมาสตาบา คือ สมัยใด

ก. กรีก

ข. อียิปต์

ค. โรมัน

ง. อาหรับ

26. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นแหล่งผลิตศิลปะจากภูมิปัญญาไทยข้อใด

ก. บาตรพระ

ข. เครื่องเงิน

ค. มีดอรัญญิก

ง. ชามสังคโลก

27. หัวเสาแบบ ดอริก ไอโอนิก และคอรินเทียน คือศิลปะสมัยใด

ก. ศิลปะกรีก

ข. ศิลปะอียิปต์

ค. ศิลปะโรมัน

ง. ศิลปะสมันใหม่

28.การประดับกระจก(Stained Glass)แทนภาพจิตรกรรมฝาผนังมีความงดงามมาก

คือศิลปะสมัยใด

ก.ศิลปะโรมัน

ข. ศิลปะอียิปต์

ค. ศิลปะกรีก

ง. ศิลปะโกธิก

29.ผู้ที่เป็นทั้ง จิตรกร ปติมากรและนักวิทยาศาสตร์ สมัยฟึ้นฟูศิลปวิทยาคือใคร

ก. ไมเคล แองเจลโล

ข. เลโอนาร์โด กาวินซี

ค.ราฟาเอล

ง.ปิสซาร์โร

30. ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ท่านใดที่นำเรื่องราวประเพณีและวัฒนธรรมไทยแสดงออกด้วยการประสานกันขององค์ประกอบศิลป์

ก. ไพฑูรย์ เมืองสมบูกรณ์

ข. อาทิตย์ ปานสวย

ค. เฉลิม นาคีรักษ์

ง. ณัฏฐนิช อิทธิวัทธนีย์

31. แม่สีวัตถุธาตุ หรือแม่สีช่างเขียน สีน้ำเงิน คือ ข้อใด

ก. Ultamarine Blue

ข. Cerulean Blue

ค. Prussion Blue

ง. Tropical Blue

32. มนุษย์รู้จักการพิมพ์ภาพเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่7 ในประเทศอะไร

ก. อียีปต์ และ กรีก

ข.อียีปต์ และ จีน

ค.จีน และ เกาหลี

ง. เกาหลี และ ญี่ปุ่น

33.พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เป็นศิลปะสมัยใด?

ก. เชียงแสน

ข. ทวาราวดี

ค. ศรีวิชัย

ง. ลพบุรี

34. สีที่แห้งเร็ว สามารถสัมผัสได้ประมาณ 20 นาที หลังจากการเริ่มใช้งานจะแห้งสนิทหลังจาก 48 ชั่วโมงโดยประมาณ คือสี อะไร

ก. สีเฟรสโก้

ข. สีโปสเตอร์

ค. สีอะครีลิค

ง. สีน้ำมัน

35. การวาดภาพเหมือนของจริง การลงน้ำหนักตามหลักของดวงอาทิตย์ เป็นการลงน้ำหนักอ่อนแก่ตามที่ตามองเห็นส่วนที่ไม่ถูกแสงของวัตถุและมีน้ำหนักเข้มมากที่สุด คือข้อใด

ก. haif Tone

ข. Cast shadow

ค. Shadow

ง. High light

36.การวาดภาพที่ต้องอาศัยหลักของกายวิภาค (ANATOMY)มาใช้ในการวาดภาพมากที่สุด คือข้อใด

ก. การวาดภาพหุ่นนิ่ง

ข. การวาดภาพคนเหมือน

ค. การวาดภาพทิวทัศน์

ง. การวาดภาพเหมือนของจริง

37. หนังสือม้วน “วัชรสูตร” ภาพการสนทนาธรรมของพระพุทธเจ้าเป็นศิลปะภาพพิมพ์ในข้อใด

ก. ภาพพิมพ์เทคนิคกัดกรด

ข. ภาพพิมพ์เทคนิคแกะโลหะ

ค. ภาพพิมพ์เทคนิคแกะไม้

ง. ภาพพิมพ์เทคนิคตะแกรงไหม

38. แบบตัวอักษรที่ใช้ในราชสำนักมาตั้งแต่โบราณ เอกสารทางราชการ หรือการจารึกเอกสารสำคัญ เช่นรับธรรมนูญ รามเกียรติ์ต่างๆ หมายถึง ลักษณะของตัวอักษรภาษาไทยรูปแบบใด

ก. รูปแบบทางราชการ

ข. รูปแบบอาลักษณ์

ค. รูปแบบประดิษฐ์

ง. รูปแบบสมเด็จกรมพระนริศฯ

39 .รูปภาพมนุษย์ ในงานจิตรกรรมไทย มีการกำหนดสีตามฐานะ และความสำคัญของรูปแบบให้แตกต่างออกไป ผิวของคนที่มีฐานะชั้นสูงใช้สีในข้อใด

ก. สีทอง

ข. สีขาว

ค. สีขาวนวล

ง. สีน้ำตาลอ่อน

40. พระพุทธรูปที่นิยมทำเป็นพระประธานในโบสถ์ คือ พระพุทธรูปปางใด

ก. ปางลีลา

ข. ปางสมาธิ

ค. ปางมารวิชัย

ง. ปางประทานปฐมเทศนา

41. ศิลปะร่วมสมัย คือ ข้อใด

ก. ศิลปะที่ร่วมกาลเวลา และ ความคิด

ข. ศิลปะที่เกิดในสมัยปัจจุบัน

ค. ศิลปะที่มีรูปแบบและเนื้อหาร่วมกัน

ง. ศิลปะที่ร่วมหลักการทางสุนทรียศาสตร์

42. สถาปัตยกรรมที่ถูกเรียกว่า ฝรั่งใส่ชฎา คือ สถานที่ใด

ก. พระที่นั่งพุทไธสวรรย์

ข. พระที่นั่งอมรินทราภิเษก

ค. พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

ง. พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

43. ส่วนที่ปิดหัวท้ายของรางระนาดเรียนว่าอะไร

ก. ฝาปิด

ข. โขน

ค. ผืน

ง. ฐาน

44.ระนาดทองหรือระนาดเอกเหล็ก เกิดข้นครั้งแรกในสมัยใด

ก. รัชกาลที่ 2

ข. รัชกาลที่ 3

ค. รัชกาลที่ 4

ง. รัชกาลที่ 5

45. ระนาดเอกเหล็กมีทั้งหมด 20 หรือ21 ลูก ลูกต้นมีความกว้างประมาณ 5 ซม. แต่ความยาวประมาณเท่าไร

ก. 20.5 ซม.

ข. 21.5 ซม.

ค. 22.5 ซม.

ง. 23.5ซม

46. ระนาดเอกเหล็กลูกยอดกว้างประมาณ 4 ซม. แต่ความยาวประมาณเท่าไร

ก. 19 ซม.

ข. 20 ซม.

ค. 21 ซม.

ง. 22 ซม.

47.ระนาดเอกเหล็กใช้บรรเลงในวงดนตรีไทยข้อใด

ก. วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่

ข. วงมโหรีเครื่องใหญ่

ค. วงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์

ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

48.ระนาดทุ้มเหล็ก เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยใด

ก. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ค. พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

49. ระนาดทุ้มเหล็กมีลูกทั้งหมดกี่ลูก

ก. 13 - 14 ลูก

ข. 14 - 15 ลูก

ค. 15 - 16 ลูก

ง. 16 - 17 ลูก

50.ระนาดทุ้มมีความยาวของลูกต้นประมาณ 35 ซม. แต่จะมีความกว้างประมาณเท่าไร

ก. 4 ซม.

ข. 5 ซม.

ค. 6 ซม.

ง. 7 ซม.

51. เครื่องดนตรีที่ทำด้วยโลหะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5 ซม. ขนาดเล็ก 4 ซม. เจาะรูตรงกลางร้อยเชือก คือเครื่องดนตรีในข้อใด

ก. ฉิ่ง

ข. ฉาบ

ค. กรับ

ง. โหม่ง

52. ฉิ่งมีขึ้นในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข.กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

53. ฆ้องกระแตที่ใช้เล่นในวงปีพาทย์เครื่องมอญ มีทั้งหมดกี่ลูก

ก. 5 ลูก

ข. 7 ลูก

ค. 9 ลูก

ง. 11 ลูก

54. เครื่องดนตรีในข้อใดที่ใช้เป็นเครื่องส่งสัญญาณในกองทัพ

ก. ฆ้องวง

ข. ฆ้องโหม่ง

ค.ฆ้องเหม่ง

ง. ฆ้องชัย

55. "วงบัวลอย" หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วงกลองสี่ปี่หนึ่ง" ส่วนมากจะใช้บรรเลง

ในงานใด

ก. งานแต่ง

ข. งานบวช

ค. งานศพ

ง. งานโกนจุก

56. ฆ้องหุ่ย มี 7 ใบ จะใช้ในวงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ผู้ที่คิดขึ้นคือใคร

ก. กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ข. กรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม

ค. พระยาประสานดุริยศัพท์

ง. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ

57.ฆ้องมอญวงใหญ่จะมีลูกฆ้องกี่ลูก

ก. 18

ข. 16

ค. 15

ง. 11

58. ฆ้องมอญวงเล็กจะมีลูกฆ้องกี่ลูก

ก. 18

ข. 16

ค. 15

ง. 11

59. วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข. กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

60. กลองทัด ชุดหนึ่งมีสองลูก ตัวผู้จะมีเสียงสูง ตัวเมียจะมีเสียงต่ำ มีขนาดเท่ากัน ขึงด้วยด้วยหนังวัวหรือควายทั้งสองด้าน มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณเท่าไร

ก. 46 ซม.

ข. 48 ซม.

ค. 50 ซม.

ง. 56 ซม.

61.เครื่องประกอบจังหวะในข้อใดที่ใช้ร่วมกับ แตรสังข์

ก. กลองทัด.

ข. กลองแขก

ค. ตะโพน

ง. มโหระทึก

62. มโหระทึกมีมาตั้งแต่ในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข. กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

63. เครื่องดีดของไทยสมัยโบราณเรียกรวม ๆ ว่าตามข้อใด

ก. พิณ

ข. ขิม

ค. จะเข้

ง. ซอ

64. เครื่องดีดทุกชนิดมักจะมีสิ่งใดที่ทำให้เกิด เสียงดังกังวานน่าฟัง

ก. คันทวน

ข. คันชัก

ค. ไม้ดีด

ง. กระพุ้งหรือกะโหลก

65. พิณน้ำเต้า ทำมาจากผลของน้ำเต้าเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด มีกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

66. คันทวนของพิณน้ำเต้ายาวประมาณ 78 ซม. เวลาบรรเลง ข้อใดถูกต้อง

ก. นั่งบรรเลงอย่างซอ

ข. ถอดเสื้อบรรเลง

ค. จะเอากะโหลกพิณประกบติดที่ทรวงอก

ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค.

67. เครื่องดนตรีในข้อใดเป็นที่รู้จักในชาว ลานช้างและลานนามาแต่โบราณ

ก. พิณ

ข. พิณเพียะ

ค. จะเข้

ง. ซึง

68. กระจับปี่เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมีกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

69. ซึงเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมี 4 สาย เป็นเครื่องดนตรีของภาคใด

ก. ภาคตะวันออก

ข. ภาคกลาง

ค. ภาคเหนือ

ง. ภาคใต้

70. จะเข้จัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด วิวัฒนาการมาจากเครื่องดนตรีใด

ก. ขิม

ข. พิณเพี่ยะ

ค. พิณ

ง. โปงลาง

71. จะเข้มีทั้งหมดกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

72. เท้าของจะเข้มีกี่เท้า

ก. 2

ข. 3

ค. 4

ง. 5

73. ส่วนที่ตั้งอยู่ด้านบนของหลังจะเข้ ทำมาจากไม้ไผ่ มีไว้สำหรับกดไล่เสียง เรียกว่า “นม” มีทั้งหมดกี่นม

ก. 11 นม

ข. 9 นม

ค. 7 นม

ง. 5 นม

74. ส่วนใดของจะเข้ที่ทำมาจากโลหะ

ก. นม

ข. เท้า

ค. ลูกบิด

ง. โต๊ะ

75. ในกรณีที่ดีดจะเข้แล้วเสียงบอด ไม่กังวาน ผู้เล่นควรปรับแต่งที่ใด

ก. สาย

ข. แหน

ค. โต๊ะ

ง. รางไหม

76. การมัดไม้ดีดจะเข้ ข้อใดถูกต้อง

ก. มัดที่นิ้วหัวแม่มือ

ข. มัดที่นิ้วชี้

ค. มัดที่นิ้วกลาง

ง. มัดทุกนิ้ว

77. เพลงใดที่มักนิยมมาเดี่ยวจะเข้

ก. เขมรไทรโยค

ข. ลายโชว์วง

ค. ลาวกระทบไม้

ง. ลาวแพน

78. จะเข้ไทยเรารู้จักเล่นไม่น้อยกว่าสมัย กรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏว่านำมาเล่นกับวงใดมาก่อน อยากทราบว่าจะเข้ได้ถูกนำมาเล่นกับวงเครื่องสาย และวงมโหรีครั้งแรกในสมัยใด

ก. รัชกาลที่ 1

ข. รัชกาลที่ 2

ค. รัชกาลที่ 3

ง. รัชกาลที่ 4

79. ซอสามสายเป็นเครื่องดนตรีประเภทสีเกิดขึ้นในสมัยใด

ก. ลานนา

ข. ลานช้าง

ค. กรุงสุโขทัย

ง. กรุงธนบุรี

80. “ซอสายฟ้าฟาด” เป็นซอสามสาย คู่พระหัตถ์ในกษัตริย์พระองค์ใด

ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข. พ่อขุนรามคำแหง

ค. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

ง. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

81. เพลงใดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระสุบิน หลังตื่นจากบรรทมจึงได้นำมาต่อให้กับมหาดเล็ก

ก. เพลงบุหลันลายเลื่อน

ข. เพลงเขมรไทรโยค

ค. เพลงสารถี

ง. เพลงคลื่นกระทบฝั่ง

82. ซอสามสาย กะโหลกซอทำมาจากข้อใด

ก. ไม้ขนุน

ข. ไม้มะหาด

ค. ลูกน้ำเต้า

ง. กะลามะพร้าว

83. ซอสามสาย มีความยาวทั้งตัวซอและ คันทวนเท่าไร

ก. 95 ซม.

ข. 120 ซม.

ค. 130 ซม.

ง. 150 ซม.

84. ซอด้วงเป็นเครื่องดนตรีประเภทสี มี 2 สาย มีเสียงแหลม นิยมนำมาบรรเลงร่วมวงเครื่องสายและวงมโหรีตั้งแต่สมัยใด

ก. กรุงศรีอยุธยาตอนต้น

ข. กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

ค. กรุงสุโขทัย

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

85. สายเปล่าของซอด้วงกับซออู้เรียกเหมือนกันว่า “สายเอก สายทุ้ม” เสียงของซอด้วงข้อใดถูกต้อง

ก. โด ซอล

ข. ลา มี

ค. ซอล เร

ง. โด เร

86. เสียงของสายเปล่าซออู้คือข้อใด

ก. โด ซอล

ข. ลา มี

ค. ซอล เร

ง. โด เร

87. หนังที่นำมาขึงหน้าซออู้คือข้อใด

ก. หนังแกะ หนังกบ

ข. หนังม้า หนังลา

ค. หนังแพะ หนังลูกวัว

ง. หนังอะไรก็ได้

88. ข้อใดคือส่วนประกอบของซอ

ก. หมอน

ข. หย่อง

ค. เท้า

ง. โต๊ะ

89. สะล้อเป็นเครื่องดนตรีประเภทสีของชาวภาคเหนือ มีสายสองสายเหมือนซออู้ ซอด้วง สายที่ใช้กับสะล้อคือข้อใด

ก. สายเอ็น

ข. สายป่าน

ค. สายลวด

ง. สายทองเหลือง

90. เครื่องดนตรีประเภทใดที่เก่าแก่ที่สุด

ก. เครื่องดีด

ข. เครื่องสี

ค. เครื่องตี

ง. เครื่องเป่า

91. เครื่องดนตรีในข้อใดใช้ตีประกอบการร้องเชิญเจ้า และรำแม่ศรี

ก. เกราะ

ข. โกร่ง

ค. กรับ

ง. ฉิ่ง

92. การเสด็จออกของพระเจ้าแผ่นดิน นักดนตรีต้องยึดถือพระราชพิธีใด

ก. รัวกรับ

ข. รัวกลอง

ค. รัวฉิ่ง

ง. รัวรำมะนา

93. ในการขับร้องเพลงเรือ ดอกสร้อย สักวา จะใช้กรับในข้อใดประกอบการขับร้อง

ก. กรับเสภา

ข. กรับคู่

ค. กรับพวง

ง. ถูกทุกข้อ

94. กรับเสภามีความยาวประมาณ 20 ซม. ผู้ขับเสภาต้องใช้กรับกี่คู่

ก. 1 คู่

ข. 2 คู่

ค. 3 คู่

ง. 4 คู่

95. ระนาดมีวิวัฒนาการมาจากเครื่องดนตรีใด

ก. โกร่ง

ข. ซอ

ค. พิณเพียะ

ง. กรับ

96. ไม้ในข้อใดที่นิยมนำมาทำจะเข้

ก. ไม้ประดู่

ข. ไม้พะยูง

ค. ไม้มะหาด

ง. ไม้ขนุน

97. จะเข้ จะมีความยาวทั้งหัวและหางประมาณเท่าไร

ก. 130 - 132 ซม.

ข. 100 - 105 ซม.

ค. 95 - 100 ซม.

ง. 80 - 85 ซม.

98. คันทวนของซอด้วงมีความยาวประมาณเท่าไร

ก. 72 ซม.

ข. 78 ซม.

ค. 80 ซม.

ง. 100 ซม.

99.ระนาดทุ้มมีความยาวของลูกต้นประมาณ 35 ซม. แต่จะมีความกว้างประมาณเท่าไร

ก. 4 ซม.

ข. 5 ซม.

ค. 6 ซม.

ง. 7 ซม.

100. เครื่องดนตรีที่ทำด้วยโลหะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5 ซม. ขนาดเล็ก 4 ซม. เจาะรูตรงกลางร้อยเชือก คือเครื่องดนตรีในข้อใด

ก. ฉิ่ง

ข. ฉาบ

ค. กรับ

ง. โหม่ง

ตัวอย่างข้อสอบ วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

รวมข้อสอบ ปลายภาค - ปลายปี เตรียมสอบข้อสอบ O-Net A-net

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

1. แม่สีวัตถุธาตุ หรือแม่สีช่างเขียน สีน้ำเงิน คือ ข้อใด

ก. Ultamarine Blue

ข. Cerulean Blue

ค. Prussion Blue

ง. Tropical Blue

2. มนุษย์รู้จักการพิมพ์ภาพเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่7 ในประเทศอะไร

ก. อียีปต์ และ กรีก

ข.อียีปต์ และ จีน

ค.จีน และ เกาหลี

ง. เกาหลี และ ญี่ปุ่น

3. ภาพข้อใดให้ความรู้สึกความกลมกลืนมากที่สุด

ก. ข. ค. ง.

4. ภาพลวดลายข้อใดเข้าชุดกับภาพที่กำหนดให้

ก. ข.

.

ค. ง.

5. ข้อใดมีเอกภาพสมบูรณ์ที่สุด

ก. ข. ค. ง.

6. เหรียญรัชกาลที่9 ในภาพเป็นประติมากรรมแบบใด

ก. ลอยตัวสูง

ข. นูนสูง

ค. นูนต่ำ

ง.รอบทิศทาง

7. ลายเส้นในข้อใดแสดงอารมณ์ของคำว่า สึนามิ (Tsunami) ได้ดีที่สุด

ก. ข. ค. ง.

8. เสื้อผ้าตามแบบในข้อใดที่ทำให้ผู้สวมใส่ดูผอมที่สุด

ก. ข. ค. ง.

9. ภาพในข้อใดอธิบายความหมายคำว่า รูปทรง

ก. ข. ค. ง.

10. ภาพในข้อใดให้ความรูสึกเรื่องความซ้ำ (Repetition) ได้ดีที่สุด

ก. ข. ค. ง.

11.ภาพใดที่ให้ความรู้สึกในเรื่องทิศทาง และความเคลื่อนไหวได้ดีที่สุด

ก ข

ค. ง.

12. เครื่องมือดักปลาบริเวณน้ำตื้นๆ เครื่องศิลปะพื้นบ้านของภาพอีสาน คือ อะไร

ก. กล่องข้าวขวัญ

ข. ตุ้มกบ

ค. ตุ้มลาน

ง.กระจาด

13. ข้อใด ไม่ใช่ การทอผ้าพื้นเมืองของภาคอีสาน

ก. ผ้าขิด

ข. ผ้ามัดหมี่

ค. ผ้าตีนจก

ง.ผ้าเกาะยอ

13.Woodcut หมายถึง การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์ข้อใด

ก. แม่พิมพ์ส่วนต่างๆ ของพืช

ข. แม่พิมพ์กระดาษ

ค. แม่พิมพ์ไม้แกะ

ง. แม่พิมพ์โลหะ

14. การจัดนิทรรศการ ตัวหนังสือที่ใช้อธิบายให้ผู้ชมอ่านได้สะดวกในระยะห่างประมาณ 12-15 ฟุต ควรมีขนาดเท่าใด

ก. 1-3 นิ้ว

ข. 3-6นิ้ว

ค. 6-9 นิ้ว

ง.10 นิ้ว

15. การจักสานย่านลิเภา เป็นงานฝีมือชั้นสูงที่มีชื่อเสียง และนิยมในหมู่เจ้านายชั้นสูงมาก คือ ย่านลิเภาของจังหวัดใด

ก. นครศรีธรรมราช

ข. นครสวรรค์

ค. นครนายก

ง. พระนครศรีอยุธยา

16. สีขั้นที่ 2 (Secondaery Hues) คือ สีข้อใด

ก. แดง ม่วง เขียว

ข. เขียว น้ำเงิน ม่วง

ค. ส้ม เหลือง เขียว

ง. ม่วง ส้ม เขียว

17. การใช้สีตัดกัน คือ ข้อใด

ก. ดอนใส่เสื้อสีแดง นุ่งกางเกงสีเขียว

ข. แดนใส่เสื้อสีดำ นุ่งกางเกงสีขาว

ค. แผนใส่เสื้อสีน้ำเงิน นุ่งกางเกงสีแดง

ง. พันใส่เสื้อ สีส้ม นุ่งกางเกงสีเหลือง

18. การใช้สีตัดกัน คือ ข้อใด

ก. สีขัด (Discord)

ข. เอกรงค์ (Monochromes)

ค. สีส่วนรวม (Tonalities)

ง. ค่าของสี (Values of Colour)

19. การออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ ในชีวิตประจำวัน หมายถึง การออกแบบข้อใด

ก. การออกแบบพาณิชยศิลป์

ข. การออกแบบหุ่นจำลอง

ค. การออกแบบผลิตภัณฑ์

ค. การออกแบบสิ่งพิมพ์

20. ดินสอวาดเขียนที่ใส้อ่อนที่สุด คือ ดินสอข้อใด

ก. H,B

ข. HB

ค. 5H, 6H

ง. 5B, 6B

21. การทอผ้าพุมเรียง เป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด

ก. อุดรธานี

ข. อุทัยธานี

ค. สุราษฎร์ธานี

ง. อุบลราชธานี

22.ศิลปะจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยสู่สากล เรียกว่า OTOPหมายถึง ข้อใด

ก. หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

ข. หนึ่งจังหวัด หนึ่งผลิตภัณฑ์

ค. หนึ่งอำเภอ หนึ่งผลิตภัณฑ์

ง. หนึ่งคน ผลิตได้มากกว่าหนึ่ง

23. การปั้นโอ่ง และกระถางเคลือบลายมังกร เป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด

ก. สงขลา

ข. ราชบุรี

ค. นครนายก

ง. ลพบุรี

24. เครื่องปั้นดินเผาบ้านด่านเกวียนเป็นศิลปะพื้นบ้านของจังหวัดใด

ก. นครราชสีมา

ข. ราชบุรี

ค. อ่างทอง

ง. สงขลา

25. ครกหิน เป็นผลิตภัณฑ์จากที่ใด

ก. ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

ข. เกาะยอ จังหวัดสงขลา

ค. บางแสน จังหวัดชลบุรี

ง. อ่างศิลา จังหวัดชลบุรี

26. บางไส้ไก่ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ มีชื่อเสียงทางด้านใด

ก. การทอเสื่อ

ข. การทำขลุ่ย

ค. การทำบาตรพระ

ง. การหล่อพระ

27. บางเจ้าฉ่า เป็นแหล่งผลิตศิลปะพื้นบ้านข้อใด

ก. เครื่องจักสาน

ข. การสานงอบ

ค. การทอเสื้อ

ง. การทำมีด

28. ศิลปะที่แสดงออกทางท่าทาง และเสียงที่จังหวะสูงต่ำ เพื่อตอบสนองทางด้านจิตใจ และอารมณ์ คือข้อใด

ก. ประยุกต์ศิลป์

ข. หัตถศิลป์

ค. วรรณศิลป์

ง. นาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์

29. คันทวย ทำเป็นรูปอะไร?

ก. หัวนาค

ข. หูช้าง

ค. หัวหงษ์

ง. หางหงส์

30. บานประตูแกะสลักที่งามที่สุดสมัยรัตนโกสินทร์อยู่ที่ใด?

ก. วัดพระแก้ว

ข. วัดบวรนิเวศ

ค. วัดสุทัศน์เทพวราราม

ง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

31. ลักษณะของจิตกรรมไทย แสดงความแตกต่างของบุคคลด้วยอะไร?

ก. เส้น

ข. สี

ค. ขนาด

ง. ท่าทาง

32. การตั้งเครื่องสดแทงหยวกใช้ในงานพิธีใด?

ก. โกนจุก

ข. เผาศพ

ค. บวชนาค

ง. ทำบุญวันเกิด

33. เครื่องเบญจรงค์นอกจากมีสี ขาว ดำ เหลือง และเขียว ยังมีสี อะไร?

ก. ส้ม

ข. ม่วง

ค. แดง

ง. น้ำเงิน

34. จิตรกรรมไทย เริ่มใช้ทองคำเปลวประกอบภาพในสมัยใด?

ก. เชียงแสน

ข. สุโขทัย

ค. อยุธยา

ง. รัตนโกสินทร์

35. จิตรกรรมฝาผนัง ในโบสถ์วัดบวรนิเวศน์ เป็นฝีมือของท่านใด?

ก. ขรัว อินโข่ง

ข. ศิลปะ พีระศรี

ค. เหม เวชกร

ง. สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

36. เครื่องถมของไทย นิยมทำมาจากจังหวัดใด?

ก. เชียงใหม่

ข. สุโขทัย

ค. อยุธยา

ง.นครศรีธรรมราช

37. สัญลักษณ์ของเรือนไทยล้านนา โดยเฉพาะที่สันจั่ว ประกอบด้วยอะไร?

ก. ไม้กาแล

ข. ไม้แป้นต้อง

ค. ไม้ข้างควาย

ง. ไม้แป้นหน้าก้อง

38. การปิดทองบนพื้นลายสลักไม้ ที่ลงพื้นด้วยการทายางตรงนั้น เรียกว่าอะไร?

ก. ลายรดน้ำปิดทอง

ข. ปิดทองล่องชาด

ค. ปิดทองลงสัก

ง. การประดับกระจกและทอง

39. ถ้าเราระบายสีภายในวกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร เท่ากัน โดยระบายสีน้าเงิน 1วงและระบายสีส้มอีก 1 วง ภาพที่เห็นจะเป็นอย่างไร?

ก. สีน้ำเงินเล็กกว่าสีส้ม

ข. สีน้ำเงินใหญ่กว่าสีส้ม

ค. มีขนาดเท่ากันทั้งสองสี

ง. สีส้มไกลกว่าสีน้ำเงิน

40. ปราสาทเมืองสิงห์อยู่ที่จังหวัดใด?

ก. สิงห์บุรี

ข. ลพบุรี

ค. กาญจนบุรี

ง. นครศรีธรรมราช

41 ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นศิลปะสมัยใด?

ก. ทวาราวดี

ข. ศรีวิชัย

ค. ลพบุรี

ง. สุโขทัย

42. พระพุทธรูป สร้างขึ้นในโลกครั้งแรกสมัยใด?

ก. สกุลศิลปะคุปตะ

ข. สกุลศิลปะ คันธาราฐ

ค. สกุลศิลปะเมาระยะ

ง.สกุลศิลปะอันทรา-อมราวดี

43.เครื่องดีดของไทยสมัยโบราณเรียกรวม ๆ ว่าตามข้อใด

ก. พิณ

ข. ขิม

ค. จะเข้

ง. ซอ

44. เครื่องดีดทุกชนิดมักจะมีสิ่งใดที่ทำให้เกิด เสียงดังกังวานน่าฟัง

ก. คันทวน

ข. คันชัก

ค. ไม้ดีด

ง. กระพุ้งหรือกะโหลก

45. พิณน้ำเต้า ทำมาจากผลของน้ำเต้าเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด มีกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

46. คันทวนของพิณน้ำเต้ายาวประมาณ 78 ซม. เวลาบรรเลง ข้อใดถูกต้อง

ก. นั่งบรรเลงอย่างซอ

ข. ถอดเสื้อบรรเลง

ค. จะเอากะโหลกพิณประกบติดที่ทรวงอก

ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค.

46. เครื่องดนตรีในข้อใดเป็นที่รู้จักในชาว ลานช้างและลานนามาแต่โบราณ

ก. พิณ

ข. พิณเพียะ

ค. จะเข้

ง. ซึง

47. กระจับปี่เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมีกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

ซึงเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมี 4 สาย เป็นเครื่องดนตรีของภาคใด

ก.ภาคตะวันออก

ข. ภาคกลาง

ค. ภาคเหนือ

ง. ภาคใต้

48. จะเข้จัดเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด วิวัฒนาการมาจากเครื่องดนตรีใด

ก.ขิม

ข. พิณเพี่ยะ

ค. พิณ

ง. โปงลาง

49. จะเข้มีทั้งหมดกี่สาย

ก. 1 สาย

ข. 2 สาย

ค. 3 สาย

ง. 4 สาย

50. เท้าของจะเข้มีกี่เท้า

ก. 2

ข. 3

ค. 4

ง. 5

51. ส่วนที่ตั้งอยู่ด้านบนของหลังจะเข้ ทำมาจากไม้ไผ่ มีไว้สำหรับกดไล่เสียง เรียกว่า “นม” มีทั้งหมดกี่นม

ก. 11 นม

ข. 9 นม

ค. 7 นม

ง. 5 นม

52. ส่วนใดของจะเข้ที่ทำมาจากโลหะ

ก. นม

ข. เท้า

ค. ลูกบิด

ง. โต๊ะ

53. ในกรณีที่ดีดจะเข้แล้วเสียงบอด ไม่กังวาน ผู้เล่นควรปรับแต่งที่ใด

ก. สาย

ข. แหน

ค. โต๊ะ

ง. รางไหม

54. การมัดไม้ดีดจะเข้ ข้อใดถูกต้อง

ก. มัดที่นิ้วหัวแม่มือ

ข. มัดที่นิ้วชี้

ค. มัดที่นิ้วกลาง

ง. มัดทุกนิ้ว

55. เพลงใดที่มักนิยมมาเดี่ยวจะเข้

ก. เขมรไทรโยค

ข. ลายโชว์วง

ค. ลาวกระทบไม้

ง. ลาวแพน

56. จะเข้ไทยเรารู้จักเล่นไม่น้อยกว่าสมัย กรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏว่านำมาเล่นกับวงใดมาก่อน อยากทราบว่าจะเข้ได้ถูกนำมาเล่นกับวงเครื่องสาย และวงมโหรีครั้งแรกในสมัยใด

ก. รัชกาลที่ 1

ข. รัชกาลที่ 2

ค. รัชกาลที่ 3

ง. รัชกาลที่ 4

57. ซอสามสายเป็นเครื่องดนตรีประเภทสีเกิดขึ้นในสมัยใด

ก. ลานนา

ข. ลานช้าง

ค. กรุงสุโขทัย

ง. กรุงธนบุรี

58. “ซอสายฟ้าฟาด” เป็นซอสามสาย คู่พระหัตถ์ในกษัตริย์พระองค์ใด

ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ข. พ่อขุนรามคำแหง

ค. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

ง. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

59. เพลงใดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระสุบิน หลังตื่นจากบรรทมจึงได้นำมาต่อให้กับมหาดเล็ก

ก. เพลงบุหลันลายเลื่อน

ข. เพลงเขมรไทรโยค

ค. เพลงสารถี

ง. เพลงคลื่นกระทบฝั่ง

60. ซอสามสาย กะโหลกซอทำมาจากข้อใด

ก. ไม้ขนุน

ข. ไม้มะหาด

ค. ลูกน้ำเต้า

ง. กะลามะพร้าว

61. ซอสามสาย มีความยาวทั้งตัวซอและ คันทวนเท่าไร

ก. 95 ซม.

ข. 120 ซม.

ค. 130 ซม.

ง. 150 ซม.

62. ซอด้วงเป็นเครื่องดนตรีประเภทสี มี 2 สาย มีเสียงแหลม นิยมนำมาบรรเลงร่วมวงเครื่องสายและวงมโหรีตั้งแต่สมัยใด

ก. กรุงศรีอยุธยาตอนต้น

ข. กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

ค. กรุงสุโขทัย

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

63. สายเปล่าของซอด้วงกับซออู้เรียกเหมือนกันว่า “สายเอก สายทุ้ม” เสียงของซอด้วงข้อใดถูกต้อง

ก. โด ซอล

ข. ลา มี

ค. ซอล เร

ง. โด เร

64. เสียงของสายเปล่าซออู้คือข้อใด

ก. โด ซอล

ข. ลา มี

ค. ซอล เร

ง. โด เร

65. หนังที่นำมาขึงหน้าซออู้คือข้อใด

ก. หนังแกะ หนังกบ

ข. หนังม้า หนังลา

ค. หนังแพะ หนังลูกวัว

ง. หนังอะไรก็ได้

66. ข้อใดคือส่วนประกอบของซอ

ก. หมอน

ข. หย่อง

ค. เท้า

ง. โต๊ะ

67. สะล้อเป็นเครื่องดนตรีประเภทสีของชาวภาคเหนือ มีสายสองสายเหมือนซออู้ ซอด้วง สายที่ใช้กับสะล้อคือข้อใด

ก. สายเอ็น

ข. สายป่าน

ค. สายลวด

ง. สายทองเหลือง

68. เครื่องดนตรีประเภทใดที่เก่าแก่ที่สุด

ก. เครื่องดีด

ข. เครื่องสี

ค. เครื่องตี

ง. เครื่องเป่า

69. เครื่องดนตรีในข้อใดใช้ตีประกอบการร้องเชิญเจ้า และรำแม่ศรี

ก. เกราะ

ข. โกร่ง

ค. กรับ

ง. ฉิ่ง

70. การเสด็จออกของพระเจ้าแผ่นดิน นักดนตรีต้องยึดถือพระราชพิธีใด

ก. รัวกรับ

ข. รัวกลอง

ค. รัวฉิ่ง

ง. รัวรำมะนาว

71. ลูกระนาดทั่ว ๆ ไปมีกี่ลูก

ก. 16

ข. 18

ค. 21

ง. 23

72. ไม้ที่ให้คุณภาพเสียงที่ดีที่สุดในการทำระนาดคือไม้ในข้อใด

ก. ไม้ไผ่บง

ข. ไม้พะยูง

ค. ไม้ชิงชัน

ง. ไม้มะหาด

73. ลูกระนาดเอกลูกต้น ยาวประมาณ กี่เซนติเมตร

ก. 21

ข. 29

ค. 39

ง. 49

74. ลูกระนาดเอกลูกสุดท้าย ยาวประมาณ กี่เซนติเมตร

ก. 21

ข. 29

ค. 39

ง. 49

75. รางระนาดมีความยาวกี่เซนติเมตร

ก. 120

ข. 125

ค. 130

ง. 135

76. ระนาดทุ้มสร้างขึ้นในสมัยใด

ก. รัชกาลที่ 1

ข. รัชกาลที่ 2

ค. รัชกาลที่ 3

ง. รัชกาลที่ 4

77. ลูกระนาดทุ้มมีทั้งหมดกี่ลูก

ก. 17 - 18 ลูก

ข. 18 - 19 ลูก

ค. 19 - 20 ลูก

ง. 20 - 21 ลูก

78. ลูกต้นระนาดทุ้มกว้าง 6 เซนติเมตร แต่ความยาวของลูกต้นประมาณกี่เซนติเมตร

ก. 40 ซม.

ข. 42 ซม.

ค. 45 ซม.

ง. 47 ซม.

79. ลูกยอดหรือลูกสุดท้ายของระนาดทุ้มกว้าง 5 เซนติเมตร แต่ความยาวของลูกยอดประมาณกี่เซนติเมตร

ก. 32 ซม.

ข. 34 ซม.

ค. 36 ซม.

ง. 38 ซม.

80. การเทียบเสียงระนาด เพื่อให้ได้เสียงได้มาตรฐาน เราใช้วัสดุในข้อใดเพื่อช่วยในการปรับแต่งเสียง

ก. ตะกั่วถ่วง

ข. ยางสน

ค. ขี้เลื่อยผสมกาว

ง. ยางมะตอย

81. ในการขับร้องเพลงเรือ ดอกสร้อย สักวา จะใช้กรับในข้อใดประกอบการขับร้อง

ก. กรับเสภา

ข. กรับคู่

ค. กรับพวง

ง. ถูกทุกข้อ

82. กรับเสภามีความยาวประมาณ 20 ซม. ผู้ขับเสภาต้องใช้กรับกี่คู่

ก. 1 คู่

ข. 2 คู่

ค. 3 คู่

ง. 4 คู่

83. ระนาดมีวิวัฒนาการมาจากเครื่องดนตรีใด

ก. โกร่ง

ข. ซอ

ค. พิณเพียะ

ง. กรับ

84. ไม้ในข้อใดที่นิยมนำมาทำจะเข้

ก. ไม้ประดู่

ข. ไม้พะยูง

ค. ไม้มะหาด

ง. ไม้ขนุน

85. จะเข้ จะมีความยาวทั้งหัวและหางประมาณเท่าไร

ก. 130 - 132 ซม.

ข. 100 - 105 ซม.

ค. 95 - 100 ซม.

ง. 80 - 85 ซม.

86. คันทวนของซอด้วงมีความยาวประมาณเท่าไร

ก. 72 ซม.

ข. 78 ซม.

ค. 80 ซม.

ง. 100 ซม.

87. ลูกบิดของซอด้วง ยาวประมาณเท่าไร

ก. 10 - 11 ซม.

ข. 12 - 13 ซม.

ค. 14 - 15 ซม.

ง. 17 - 18 ซม.

88. หนังที่ใช้ขึงหน้าซอด้วงคือข้อใด

ก. หนังงู

ข. หนังกบ

ค. หนังแพะ

ง. หนังแกะ

89. สีซอแล้วไม่เกิดเสียงจะแก้ปัญหาด้วยวิธีใด

ก. ซื้อซอคันใหม่

ข. สั่งให้ช่างซ่อม

ค. ใช้ยางสนถูที่หางม้าหรือเอ็น

ง. ใช้ยางสนถูที่คันทวน

90. คันทวนซออู้ยาวประมาณเท่าไร

ก. 69 ซม.

ข. 79 ซม.

ค. 89 ซม.

ง. 99 ซม.

91. ส่วนที่ปิดหัวท้ายของรางระนาดเรียนว่าอะไร

ก. ฝาปิด

ข. โขน

ค. ผืน

ง. ฐาน

92. . ระนาดทองหรือระนาดเอกเหล็ก เกิดข้นครั้งแรกในสมัยใด

ก. รัชกาลที่ 2

ข. รัชกาลที่ 3

ค. รัชกาลที่ 4

ง. รัชกาลที่ 5

93. ระนาดเอกเหล็กมีทั้งหมด 20 หรือ21 ลูก ลูกต้นมีความกว้างประมาณ 5 ซม. แต่ความยาวประมาณเท่าไร

ก. 20.5 ซม.

ข. 21.5 ซม.

ค. 22.5 ซม.

ง. 23.5ซม

94. ระนาดเอกเหล็กลูกยอดกว้างประมาณ 4 ซม. แต่ความยาวประมาณเท่าไร

ก. 19 ซม.

ข. 20 ซม.

ค. 21 ซม.

ง. 22 ซม.

95. ระนาดเอกเหล็กใช้บรรเลงในวงดนตรีไทยข้อใด

ก. วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่

ข. วงมโหรีเครื่องใหญ่

ค. วงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์

ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

96. ระนาดทุ้มเหล็ก เกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยใด

ก. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ข. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ค. พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

97. ระนาดทุ้มเหล็กมีลูกทั้งหมดกี่ลูก

ก. 13 - 14 ลูก

ข. 14 - 15 ลูก

ค. 15 - 16 ลูก

ง. 16 - 17 ลูก

98. ระนาดทุ้มมีความยาวของลูกต้นประมาณ 35 ซม. แต่จะมีความกว้างประมาณเท่าไร

ก. 4 ซม.

ข. 5 ซม.

ค. 6 ซม.

ง. 7 ซม.

100. เครื่องดนตรีที่ทำด้วยโลหะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 6.5 ซม. ขนาดเล็ก 4 ซม. เจาะรูตรงกลางร้อยเชือก คือเครื่องดนตรีในข้อใด

ก. ฉิ่ง

ข. ฉาบ

ค. กรับ

ง. โหม่ง

ข้อสอบ วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

รวมข้อสอบ ปลายภาค - ปลายปี เตรียมสอบข้อสอบ O-Net A-net

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

1. ผลงานศิลปะในข้อใดจัดอยู่ในสาขาทัศนศิลป์ทั้งหมด

ก. จิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม

ข. ภาพถ่าย สื่อประสม ประติมากรรม

ค. ภาพพิมพ์ นาฏศิลป์ จิตรกรรม

ง. การละคร ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย

2.หัตถศิลป์ อุตสาหกรรมศิลป์ พาณิชย์ศิลป์ มัณฑนศิลป์ และนิเทศศิลป์ หมายถึงข้อใด

ก. วิจิตรศิลป์(Fine Arts)

ข.ศิลปะพ็อพ อาร์ต(Pop Arts)

ค. ประยุกต์ศิลป์(Applied Arts)

ง. ศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Arts)

3. จิตรกร(Artist)หมายถึง ผู้สร้างสรรค์ผลงานประเภทใด

ก. ประติมากรรม

ข. จิตรกรรม

ค. สถาปัตยกรรม

ง. วรรณกรรม

4. ช่างปั้น แกะสลัก และช่างหล่อ หมายถึง บุคคลในข้อใด

ก. จิตรกร

ข. ประติมากร

ค. สถาปนิก

ง. กรรมกร

5. ผู้ออกแบบก่อสร้างอาคารสถานที่ หมายถึง บุคคลในข้อใด

ก. จิตรกร

ข. ประติมากร

ค. สถาปนิก

ง.มัณฑนาการ

6. ข้อใดไม่ใช่งานศิลปะ

ก. ความสวยงามของน้ำตก

ข. การสร้างรูปเคารพ

ค. การเขียนภาพเหมือน

ง. การออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่

7. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านในข้อใดจัดเป็นงานจิตรกรรม

ก. ลวดลายบนด้ามกริช

ข. ลวดลายบนกระต่ายขูดมะพร้าว

ค. ลวดลายบนเรือกอและ

ง. ลวดลายบนเทียนพรรษา

8. งานออกแบบที่รูปแบบสามารถสื่อความหมายให้ผู้พบเห็นมีความเข้าใจตรงกันโดยไม่จำเป็นต้องมีคำบรรยายประกอบคืออะไร

ก. การออกแบบสิ่งพิมพ์

ข. การออกแบบสัญลักษณ์

ค. การออกแบบเครื่องแต่งกาย

ง. การออกแบบตกแต่งหน้าร้าน

9. ให้ความรู้สึกสับสน ไม่แน่นอน กระแทกกระทั้น การต่อสู้ หมายถึง เส้นข้อใด

ก. เส้นเฉียง

ข. เส้นโค้ง

ค. เส้นซิกแซก

ง. เส้นคลื่น

10. ทัศนธาตุ(Visual Elements)ในข้อใดที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุด

ก. รูปทรง(Form)

ข. เส้น(Line)

ค. สีสัน(Colours)

ง.จุด(Point)

11. ข้อใดต่อไปนี้ คือ งานประติมากรรม

ก. รูปปั้นพระบรมรูปทรงม้า

ข. รูปปั้นหลวงปู่ทวดวัดช้างให้

ค. พระประธานในอุโบสถ

ง. รูปปั้นนางเงือกริมหาดสมิหลา จ.สงขลา

12. สีขั้นที่ 2 (Secondary Colour) คือ สีข้อใด

ก. ส้ม ชมพู เขียว

ข. ชมพู ฟ้า ขาว

ค. เขียว แดง เหลือง

ง. ส้ม ม่วง เขียว

13. สีที่อยู่ได้ทั้งวรรณะอุ่น(Warm Tone) และ วรรณเย็น(Cool Tone) คือข้อใด

ก. สีเหลือง และสีขาว

ข. สีขาวและสีดำ

ค. สีเหลือง และสีม่วง

ง. สีเทา และสีฟ้า

14. การออกแบบเครื่องแต่งกาย จัดว่าเป็นงานออกแบบประเภทใด

ก. ออกแบบตกแต่ง

ข. ออกแบบผลิตภัณฑ์

ค. อออกแบพาณิชย์ศิลป์

ง. ออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย

15. คำกล่าวต่อไปนี้ ข้อใดเป็นจริงและเหมาะสมที่สุด

ก. ผลงานของคนปัญญาอ่อน ไม่จัดว่าเป็นผลงานศิลปะ

ข. ผลงานศิลปะจากคนปัญญาอ่อน อาจมีคุณค่ามากกว่าผู้ใด

ค. จินตนาการจากโลกมืด (คนตาบอด) เป็นจินตนาการที่ไม่สมบูรณ์

ง. ผลงานของศิลปินที่วาดภาพด้วยเท้า มีคุณค่ามากกว่าศิลปินที่วาดภาพด้วยมือ

16. ศิลปะในประเทศไทยที่ยืนยันว่าดินแดนแถบนี้เคยมีความเจริญ มีอารยธรรมของตนเองมาก่อน เมื่อห้าพันปีมาแล้ว คือ ข้อใด

ก. เกาะยอ จ.สงขลา

ข. บางแสน จ.ชลบุรี

ค. บ้านเชียง จ.อุดรธานี

ง. ปากช่อง จ.นครราชสีมา

17. พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร สร้างด้วยหินอ่อนและหน้าต่างประกอบด้วยกระจกสีออกแบบโดยใคร

ก. ศิลปะ พีระศรี

ข. สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ค. ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์

ง. ไมเคิล แองเจลโล

18. ประติมากรชาวอิตาลี ชื่อ โดราโด เฟโรจี ภายหลังโอนสัญชาติและเปลี่ยนชื่อเป็นไทยว่าอย่างไร

ก. ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์

ข. เฉลิม นาคีรักษ์

ค. มีเซียม ยิปอินซอย

ง. ศิลป พีระศรี

19. “พระศรีศากยะทศพลญาณ ประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์” พุทธลักษณะรับแรงบันดาลใจจากพระพุทธรูปสมัยใด

ก. สุโขทัย

ข. อยุธยา

ค. เชียงแสน

ง. ลพบุรี

20. การเก็บศพไว้ไม่ให้เน่าเปื่อยรียกว่า มัมมี่ (Mummy) ไว้ใน พีระมิด และมาสตาบา คือ สมัยใด

ก. กรีก

ข. อียิปต์

ค. โรมัน

ง. อาหรับ

21. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นแหล่งผลิตศิลปะจากภูมิปัญญาไทยข้อใด

ก. บาตรพระ

ข. เครื่องเงิน

ค. มีดอรัญญิก

ง. ชามสังคโลก

22. หัวเสาแบบ ดอริก ไอโอนิก และคอรินเทียน คือศิลปะสมัยใด

ก. ศิลปะกรีก

ข. ศิลปะอียิปต์

ค. ศิลปะโรมัน

ง. ศิลปะสมันใหม่

23.การประดับกระจก(Stained Glass)แทนภาพจิตรกรรมฝาผนังมีความงดงามมาก

คือศิลปะสมัยใด

ก.ศิลปะโรมัน

ข. ศิลปะอียิปต์

ค. ศิลปะกรีก

ง. ศิลปะโกธิก

24. ศิลปะที่แสดงออกทางท่าทาง และเสียงที่จังหวะสูงต่ำ เพื่อตอบสนองทางด้านจิตใจ และอารมณ์ คือข้อใด

ก. ประยุกต์ศิลป์

ข. หัตถศิลป์

ค. วรรณศิลป์

ง. นาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์

25. ข้อใดกล่าวไม่ ถูกต้อง

ก. ศิลปะมีการวางแผนงาน และวิธีการไว้ล่วงหน้า

ข. ศิลปะ แผนงานและวิธีการ อาจเปลี่ยนแปลงได้

ค. งานช่าง มีความสัมพันธ์ระหว่างวัสดุ และผลิตผล

ง. ศิลปะ มีความสอดคล้องเรื่องวัสดุ และผลิตผล

26.ภาพเขียนขนาดใหญ่ ส่วนมากเขียนด้วยสีฝุ่น หรือ สีเฟรสโก (Fresco) คือภาพอะไร

ก. ภาพผนัง

ข.ภาพคนเต็มตัว

ค. ภาพทิวทัศน์

ง. ภาพอาคารสิ่งก่อสร้าง

27. รูปปั้น แกะสลัก และหล่อ ที่เป็นรูปเคารพทางศาสนาโดยทั่วไปหมายถึง พระพุทธรูป คือข้อใด

ก. ประติมากรรม

ข. ปฏิมากรรม

ค. ปฏิมากร

ง. ประติมากรรม และปฏิมากรรม

28. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์สูง

ก. มีอิสระทางความคิด

ข. มีความไวต่อการรับรู้

ค. เป็นคนใจกว้างมองโลกในแง่ดี

ง. มีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะเรื่องที่สร้างสรรค์

29. ลายรดน้ำตู้พระธรรม ที่มีชื่อเสียง ลายรดน้ำฝีมือครูวัดเชิงหวาย พบที่ วัดเชิงหวาย

จังหวัดนนทบุรีเป็นศิลปะสมัยใด

ก. ศิลปะสมัยเชียงแสน

ข. ศิลปะสมัยสุโขทัย

ค. ศิลปะสมัยอยุธยา

ง. ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์

30. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด?

ก. ศิลปะ คือ สิ่งที่สวยงามสุด

ข. ภาพถ่ายของธรรมชาติที่สวยงาม

ค. ศิลปะ คือความงามที่ได้จากธรรมชาติที่สวยงาม

ง. ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อความพึงพอใจ

31. อียิปต์ สร้างสุสานที่ใช้เก็บศพ หรือมัมมี่ ของพวกขุนนางชั้นสูงเรียกว่าอะไร?

ก. พีระมิด

ข. มาสตาบา

ค. สฟิงซ์

ง. วิหาร

32. สถาปัตยกรรมวิหารพาร์เธนอน (The Parthenon)เป็นศิลปะสมัยใด?

ก. ศิลปะ อียิปต์

ข. ศิลปะกรีก

ค. ศิลปะโรมัน

ง. ศิลปะโกธิก

33. ความรุ้สึกที่เกิดจากเส้นข้อใด ไม่ถูกต้อง?

ก. เส้นตรง ให้ความรู้สึกแข็งแรง แน่นอน ตรง เข้ม

ข. เส้นโค้ง ของวงกลม ให้ความรู้สึกเป็นเรื่องซ้ำๆ

ค. เส้นเฉียงให้ความรู้สึกเ คลื่อนไหวและมั่นคง

ง. เส้นเฉียงและโค้ง ให้ความรู้สึกที่มีระเบียบ รู้สึกพุ่งเข้าหรือพุ่งออกจากที่ว่าง

34. การใช้สี สีเดียว หรือสีที่ แสดงอิทธิพลเด่นออกมาสีเดียว ซึ่งดูแล้วคล้ายกับสีที่มีอิทธิพลของสีส่วนรวม (Tonality)แต่สีส่วนรวมใช้ได้ทุกสี ส่วนมากเป็นสีสดใสหรือลดความสดใสลงแล้วก็ได้ คือการใช้สีข้อใด?

ก. สีขัด (Discord)

ข. ความเข้มของสี (Intensity)

ค. เอกรงค์ (Monochromes)

ง. ค่าของสี (Values of color)

35. INDUSTRIL ART คือข้อใด?

ก. การทำเครื่องรัก

ข. การทำเครื่องถม

ค. การทำเครื่องเขิน

ง.การหล่อเครื่องดินจำนวนมาก

36 .ปูนปลาสเตอร์ทำมาจากอะไร?

ก. หินฟันม้า

ข. หินยิบซั่ม

ค. หินเขียวหนุมาน

ง. เปลือกหอยสีน้ำเค็ม

7. การเขียนภาพสีน้ำมันเพื่อความคงทน และสดใสของสี ควรใช้สีน้ำมันผสมกับข้อใด

ก. ลินสีด

ข. ดีเซล

ค. เบนซิน

ง. ทินเนอร์

38. ศิลปะไทย เป็นศิลปะที่จัดอยู่ในประเภทใด

ก. ศิลปะแบบธรรมชาติ

ข. ศิลปะแบบนามธรรม

ค. ศิลปะแบบสมัยเก่า

ง. ศิลปะแบบอุดมคติ

39. เจดีย์ทรงรัตนโกสินทร์มีโครงสร้างภายนอกเป็นลักษณะใด?

ก. รูปทรงระฆัง

ข. รูปทรงจอมแห

ค. รูปทรงสูงใหม่

ง .รูปทรงย่อมุมสิบสอง

40. เจดีย์ย่อมุมสิบสอง สมัยรัตนโกสินทร์ อยู่ที่วัดใด?

ก. วัดบวรนิเวศ

ข. วัดสระเกศวรวิหาร

ค. วัดประดู่ในทรงธรรม

ง. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

41. อัตราจังหวะเคาะ (Meter) หมายถึงข้อใด

ก. เสียงเคาะจังหวะที่ตกคงที่และสม่ำเสมอ

ข. การแบ่งกลุ่มจำนวนจังหวะเคาะต่อกลุ่มที่นำมาใช้ซ้ำแบบวนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบเพลง

ค. อัตราความช้า เร็วของการดำเนินจังหวะ

ง. กระสวนหรือแบบแผนการดำเนินจังหวะ

42. จังหวะนับ หรือจังหวะเคาะ (Beat) หมายถึงข้อใด

ก. เสียงเคาะจังหวะที่ตกคงที่และสม่ำเสมอ

ข. การแบ่งกลุ่มจำนวนจังหวะเคาะต่อกลุ่มที่นำมาใช้ซ้ำแบบวนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบเพลง

ค. อัตราความช้า เร็วของการดำเนินจังหวะ

ง. กระสวนหรือแบบแผนการดำเนินจังหวะ

43. หน้าทับหรือกระสวนจังหวะ (Rhythm) หมายถึงข้อใด

ก. เสียงเคาะจังหวะที่ตกคงที่และสม่ำเสมอ

ข. การแบ่งกลุ่มจำนวนจังหวะเคาะต่อกลุ่มที่นำมาใช้ซ้ำแบบวนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบเพลง

ค. อัตราความช้า เร็วของการดำเนินจังหวะ

ง. กระสวนหรือแบบแผนการดำเนินจังหวะ

44. อัตราความเร็วของจังหวะ (Tempo) หมายถึงข้อใด

ก. เสียงเคาะจังหวะที่ตกคงที่และสม่ำเสมอ

ข. การแบ่งกลุ่มจำนวนจังหวะเคาะต่อกลุ่มที่นำมาใช้ซ้ำแบบวนตั้งแต่เริ่มต้นจนจบเพลง

ค. อัตราความช้า เร็วของการดำเนินจังหวะ

ง. กระสวนหรือแบบแผนการดำเนินจังหวะ

45. ทำนองเพลงเดินขึ้น สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง

ข. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

ค. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ง. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

46. ทำนองเพลงเดินลง สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง

ข. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

ค. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ง. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

47. ทำนองเพลงไต่ลงด้วยคู่เสียงที่มีช่วงเสียงกว้าง สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง

ข. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

ค. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ง. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

48. ทำนองที่เปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง

ข. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

ค. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ง. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

49. ทำนองเพลงไต่ด้วยคู่เสียงที่มีช่วงเสียงกว้าง สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ข. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

ค. ท่าทางโลดโผนรุนแรง

ง. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

50. ทำนองเพลงไต่ขึ้นหรือลงด้วยคู่เสียงแบบตามลำดับขึ้น หรือช่วงเสียงแคบ ๆ สัมพันธ์กับข้อใด

ก. ท่าทางโลดโผนรุนแรง หรือหยาบกระด้าง

ข. ท่าทางเรียบ อ่อนโยน

ค. ท่าทางนุ่มนวลอ่อนโยน

ง. ท่าทางโศกเศร้าห่อเหี่ยว

51. เครื่องดนตรีที่ดุริยางคศิลปินไทยเคารพนับถือว่าเป็นเครื่องดนตรีที่สำคัญที่สุด คือข้อใด

ก. ระนาดเอก

ข. กลองแขก

ค. กลองตะโพน

ง. ตะโพน

52. พระประคนธรรพ เราเชื่อกันว่าท่านสิ่งสถิตอยู่ในเครื่องดนตรีในข้อใด

ก. ระนาดเอก

ข. กลองแขก

ค. กลองตะโพน

ง. ตะโพน

53. เพลงที่ใช้อัญเชิญและบูชาพระประคนธรรพ คือเพลงใด

ก. สาธุการ

ข. ตระนิมิต

ค. ตระพระประคนธรรพ

ง. เพลงคุกพาทย์

54. นักดนตรีในสมัยก่อนมักจะเริ่มเรียนดนตรีในวงปี่พาทย์ก่อน เพลงที่จะต้องเรียนเพลงแรก คือข้อใด

ก. สาธุการ

ข. ตระนิมิต

ค. ตระพระประคนธรรพ

ง. เพลงคุกพาทย์

55. การเริ่มฝึกเล่นดนตรีครั้งแรก ต้องฝึกเครื่องใดก่อน

ก. ระนาดเอก

ข. ระนาดทุ้ม

ค. ปี่

ง. ฆ้องวงใหญ่

56. เพลงในข้อใดที่ถือเป็นคลังของเพลงไทย

ก. เพลงตับ

ข. เพลงเถา

ค. เพลงเรื่อง

ง. เพลงเบ็ดเตล็ด

57. เพลงในอัตราสามชั้นเริ่มมีเกิดขึ้นในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข. กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

58. การนำวงปี่พาทย์มาบรรเลงประกอบการร้องส่งเสภามีขึ้นครั้งแรกในรัชกาลใด

ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ง. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

59. เพลงที่นำอัตราจังหวะ 3 ชั้น 2 ชั้น และชั้นเดียวมาบรรเลงต่อกัน คือเพลงในข้อใด

ก. เพลงตับ

ข. เพลงเถา

ค. เพลงเรื่อง

ง. เพลงเบ็ดเตล็ด

60. เพลงที่นำเพลงหลาย ๆ เพลงมาบรรเลงต่อกันคือเพลงในข้อใด

ก. เพลงตับ

ข. เพลงเถา

ค. เพลงเรื่อง

ง. เพลงเบ็ดเตล็ด

61. “ศัพท์สังคีต” หมายถึงข้อใด

ก. คำศัพท์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในวงการดนตรี

ข. คำศัพท์ที่ใช้เฉพาะนาฏศิลป์

ค. คำศัพท์ที่ใช้เฉพาะงานก่อสร้าง

ง. คำศัพท์ที่ใช้เฉพาะงานทัศนศิลป์

62. ทำนองเพลงที่ประพันธ์ขึ้นให้มีทำนองต่างไปจากทำนองเดิม โดยยึดเสียงลูกตกของจังหวะหน้าทับให้ตรงกับเสียงทำนองโครงสร้างเพลงเดิมตรงกับลักษณะทางของเพลงไทยในข้อใด

ก. ทางกรอ

ข. ทางลูกล้อ ลูกขัด

ค. ทางเปลี่ยน

ง. ทางพันหรือทางเก็บ

63. ทำนองเพลงที่ต้องแบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 พวก คือพวกหน้าและพวกหลัง ตรงกับลักษณะทางของเพลงไทยในข้อใด

ก. ทางกรอ

ข. ทางลูกล้อ ลูกขัด

ค. ทางเปลี่ยน

ง. ทางพันหรือทางเก็บ

64. ผู้บรรเลงแปลทำนองหลักของฆ้องวงใหญ่ เป็นทำนองเต็ม ตรงกับลักษณะทางของเพลงไทยในข้อใด

ก. ทางกรอ

ข. ทางลูกล้อ ลูกขัด

ค. ทางเปลี่ยน

ง. ทางพันหรือทางเก็บ

65. ทางใดที่บรรเลงแสดงถึงความแม่นยำ ความสามารถของผู้บรรเลงและภูมิปัญญาของผู้ประพันธ์เพลง

ก. ทางตัด

ข. ทางพันหรือทางเก็บ

ค. ทางเดี่ยว

ง. ทางโอดพัน

66. การบรรเลงเพลงสำเนียงต่าง ๆ และใช้บรรเลงเพลงเดี่ยว นักดนตรีควรเลือกใช้คู่ใดที่เป็นที่นิยมกัน

ก. คู่ 2

ข. คู่ 3

ค. คู่ 4

ง. คู่ 5

67. หน้าทับ หมายถึงข้อใด

ก. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง

ข. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ทำด้วยโลหะ

ค. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ทำด้วยไม้

ง. การกำหนดจังหวะของทำนองเพลงโดยใช้ความของทำนองเครื่องหนัง

68. จังหวะหน้าทับ หมายถึงข้อใด

ก. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง

ข. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ทำด้วยโลหะ

ค. เสียงตีของเครื่องดนตรีที่ทำด้วยไม้

ง. การกำหนดจังหวะของทำนองเพลงโดยใช้ความของทำนองเครื่องหนัง

69. หน้าทับสองไม้ ใช้ตีประกอบเพลงลักษณะใด จึงจะเหมาะสม

ก. ใช้กับเพลที่มีทำนองเรียบ ๆ ไม่โลดโผน

ข. ใช้กับเพลงที่มีประโยคสั้น ๆ มีทำนองพลิก หรือมีความยาวไม่แน่นอน

ค. เพลงเร็ว

ง. เพลงช้า

70.

หน้าทับดังกล่าว ข้อใดถูกต้อง

ก. หน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น

ข. หน้าทับสองไม้ 2 ชั้น

ค. หน้าทับลาว

ง. หน้าทับสดายง

71.

เป็นหน้าทับในข้อใด

ก. กรับเสภา

ข. กรับคู่

ค. กรับพวง

ง. ถูกทุกข้อ

72.

เป็นหน้าทับในข้อใด

ก. หน้าทับปรบไก่ 2 ชั้น

ข. หน้าทับสองไม้ 2 ชั้น

ค. หน้าทับลาว

ง. หน้าทับสดายง

73. ขลุ่ยเพียงออมีความยาว 43 - 45 ซม. มีรูด้านหน้า 7 รู รูด้านหลัง 1 รู รวม 8 รู รูด้านหลังเรียนกว่ารูอะไร

ก. รูปากนกแก้ว

ข. รูนิ้วค้ำ

ค. รูร้อยเชือก

ง. รูเยื่อ

74. ทำมาจากไม้เนื้อแข็ง อัดลงไปในรูของขลุ่ย ข้อใดถูกต้อง

ก. ก้นขลุ่ย

ข. ที่ปิดปากขลุ่ย

ค. ดากขลุ่ย

ง. ไม้ยัดขลุ่ย

75. รูปากนกแก้วมีไว้เพื่อสิ่งใด

ก. ทำให้เกิดเสียง

ข. ใช้นิ้วปิด - เปิดเสียง

ค. ปิดเยื่อเพื่อแต่งเสียงให้ไพเราะ

ง. ไว้ร้อยเชือก

76. รูเยื่อมีไว้เพื่อสิ่งใด

ก. ทำให้เกิดเสียง

ข. ใช้นิ้วปิด - เปิดเสียง

ค. ปิดเยื่อเพื่อแต่งเสียงให้ไพเราะ

ง. ไว้ร้อยเชือก

77. วิธีจับขลุ่ยไทย ข้อใดถูกต้อง

ก. มือขวาอยู่บน

ข. มือซ้ายอยู่บน

ค. กำขลุ่ยแน่น ๆ

ง. กำขลุ่ยหลวม ๆ

78. ในกรณีปิดรูขลุ่ยเพียงออทั้ง 8 รู เสียงที่เป่าออกไปข้อใดถูกต้อง

ก. โด

ข. เร

ค. มี

ง. ฟา

79. ปิดรูนิ้วค้ำ และปิดรูที่ 5, 6, 7 เสียงที่เป่าออกไปข้อใดถูกต้อง

ก. ที

ข. ลา

ค. ซอล

ง. ฟา

80. การเป่าขลุ่ยถ้าต้องการเป่าให้ได้เสียงสูง มีวิธีการเป่าอย่างไร

ก. เป่าลมเบา ๆ

ข. เป่าลมแรง ๆ

ค. ระบายลมเข้าอย่างต่อเนื่อง

ง. ระบายลมเข้าตามตัวโน้ต

81. การเป่าสะบัด มีวิธีการเป่าอย่างไร

ก. เป่าลม 3 ครั้ง เปลี่ยนนิ้ว 3 นิ้ว

ข. เป่าลม 1 ครั้ง เปลี่ยนนิ้ว 3 นิ้ว

ค. เป่าลม 1 ครั้ง เปลี่ยนนิ้ว 5 นิ้ว

ง. เป่าลม 2 ครั้ง เปลี่ยนนิ้ว 2 นิ้ว

82. เพลง “ลาวดำเนินเกวียน” ปัจจุบันคือเพลงใน ข้อใด

ก. บุหลันลอยเลื่อน

ข. เขมรไทรโยค

ค. ลาวดวงเดือน

ง. ลาวกระทบไม้

83. เพลงลาวดวงเดือนมีทั้งหมดกี่ท่อน

ก. 1

ข. 2

ค. 3

ง. 4

84. หลักการบรรเลงดนตรีไทย จะต้องเล่นท่อนละ กี่เที่ยว

ก. 1

ข. 2

ค. 3

ง. 4

85. มีผู้บรรเลง 3 คน คือขับลำนำ 1 คน สีซอสามสาย 1 คน และไกวบัณเฑาะว์ 1 คน คือวงดนตรีในข้อใด

ก. วงขับไม้

ข. วงกลองแขก

ค. วงกลองชนะ

ง. วงแตรสังข์

86. วงดนตรีในข้อใดที่ใช้บรรเลงในขบวนพยุหยาตรา

ก. วงขับไม้

ข. วงกลองแขก

ค. วงกลองชนะ

ง. วงแตรสังข์

87. วงดนตรีในข้อใดที่ใช้บรรเลงเฉพาะงานผู้สูงศักดิ์ ซึ่งได้กำหนดไว้โดยเฉพาะ

ก. วงขับไม้

ข. วงกลองแขก

ค. วงกลองชนะ

ง. วงแตรสังข์

88. วงดนตรีในข้อใดที่ได้รับอิทธิพลมาจากชวา

ก. วงขับไม้

ข. วงกลองแขก

ค. วงกลองชนะ

ง. วงแตรสังข์

89. เพลงสรรเสริญพระบารมี ควรนำไปบรรเลงในเหตุการณ์ใด

ก. ประธานในพิธีกล่าวเปิดงาน

ข. ประธานในพิธีเดินทางมาถึง

ค. เมื่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับ

ง. เมื่อพระสงฆ์มาถึงบริเวณงาน

90. เราทุกคนจะต้องลุกขึ้นยืนตรง เมื่อได้ยินเสียงเพลงในข้อใด

ก. โหมโรงมหาราช

ข. โหมโรงจอมสุรางค์

ค. ตระนิมิต

ง. มหาฤกษ์

91. ฆ้องกระแตที่ใช้เล่นในวงปีพาทย์เครื่องมอญ มีทั้งหมดกี่ลูก

ก. 5 ลูก

ข. 7 ลูก

ค. 9 ลูก

ง. 11 ลูก

92. เครื่องดนตรีในข้อใดที่ใช้เป็นเครื่องส่งสัญญาณในกองทัพ

ก. ฆ้องวง

ข. ฆ้องโหม่ง

ค.ฆ้องเหม่ง

ง. ฆ้องชัย

93. "วงบัวลอย" หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วงกลองสี่ปี่หนึ่ง" ส่วนมากจะใช้บรรเลง

ในงานใด

ก. งานแต่ง

ข. งานบวช

ค. งานศพ

ง. งานโกนจุก

94. ฆ้องหุ่ย มี 7 ใบ จะใช้ในวงปีพาทย์ดึกดำบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ผู้ที่คิดขึ้นคือใคร

ก. กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ข. กรมหมื่นพิชัยมหินทโรดม

ค. พระยาประสานดุริยศัพท์

ง. หลวงประดิษฐ์ไพเราะ

95. ฆ้องมอญวงใหญ่จะมีลูกฆ้องกี่ลูก

ก. 18

ข. 16

ค. 15

ง. 11

96. ฆ้องมอญวงเล็กจะมีลูกฆ้องกี่ลูก

ก. 18

ข. 16

ค. 15

ง. 11

97. วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ เกิดขึ้นในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข. กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

98. กลองทัด ชุดหนึ่งมีสองลูก ตัวผู้จะมีเสียงสูง ตัวเมียจะมีเสียงต่ำ มีขนาดเท่ากัน ขึงด้วยด้วยหนังวัวหรือควายทั้งสองด้าน มีเส้นผ่านศูนย์ กลางประมาณเท่าไร

ก. 46 ซม.

ข. 48 ซม.

ค. 50 ซม.

ง. 56 ซม.

99. เครื่องประกอบจังหวะในข้อใดที่ใช้ร่วมกับ แตรสังข์

ก. กลองทัด.

ข. กลองแขก

ค. ตะโพน

ง. มโหระทึก

100. มโหระทึกมีมาตั้งแต่ในสมัยใด

ก. กรุงสุโขทัย

ข. กรุงศรีอยุธยา

ค. กรุงธนบุรี

ง. กรุงรัตนโกสินทร์

เก็บไว้ เพื่อเป็นวิทยาแก่ลูกหลาน......

กฤษณเดช ศุภศาสตรานนท์

Kijsanadech2555@gmail.com

083 374 7979

กฤษณเดช ศุภศาสตรานนท์

Kijsanadeck2555@gmail.com

0 833 747 979